MENU

Vol.4 No.3 (กรกรฏาคม-กันยายน w.ศ.2564)

บทความ

Volume 1

ชาวบ้านรุกที่รัฐหรือที่รัฐทับที่ชาวบ้าน

ในโลกคู่ขนานระหว่างการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสิทธิในผืนแผ่นดินบรรพบุรุษของกลุ่มชาติพันธุ์

โดย นางสาวสัณหวรรณ ศรีสด

บทนำ

“ฉันลืมตามาป่าก็อยู่ตรงนั้น น้ำนมหยดแรกที่ฉันดื่มก็อยู่ตรงนั้น”

ปู่คออี้ วัย 106 ปี

ผู้เฒ่าชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยงแห่งป่าแก่งกระจาน

บทนำและประเด็นป้ญหา

 

เมื่อวันที่ 5 ถึง 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 คณะเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานได้เดินทางไปยังหมู่บ้านซาว กะเหรี่ยงบริเวณบ้านบางกลอยบนและบ้านใจแผ่นดิน อำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเปีนบริเวณในเขตอุทยาน แห่งชาติแก่งกระจาน และได้มีคำสั่งให้ซาวกะเหรี่ยงออกจากบ้าน โดยกล่าวหาว่าเปีนซนกลุ่มน้อยที่บุกรุกพื้นที่ตามแนว ชายแดนไทย - สหภาพเมียนมา และไม่มีสิทธิอาศัยทำกินในบ้าแก่งกระจาน หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่ง กระจานได้ทำการจุดไฟเผาทำลายบ้านเรือนและทรัพย์สินชองซาวกระเหรี่ยง ซึ่งเปีนการปฏิบัติตามโครงการขยายผลการ อพยพผลักดันหรือจับกุมซนกลุ่มน้อยที่บุกรุกพื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานที่มีซื่อเรียกว่ายุทธการตะนาวศรี ด้วยเหตุนี้ กลุ่มซาวบ้านจึงนำคดีฃึ้นสู่ศาลปกครองโดยฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากการกระทำดังกล่าวต่อกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์บ้า และพันธุพืช และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และขอให้ศาลสั่งให้หน่วยงานทั้งสองซดใช้ค่าเสียหายและ ยินยอมให้ผู้ฟ้องคดีกลับไบ้อยู่อาศัยและทำกินในพื้นที่เดิม (ไทยพืปีเอส 2559)

 

 

       เมื่อวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559 ศาลบ้กครองแผนกคดีสิ่งแวดล้อมได้อ่านคำพิพากษาคดีโดยศาลพิพากษาว่าผู้ ฟ้องคดีมีที่ดินทำกินซึ่งทางราชการจัดสรรให้ซึ่งเปีนคนละส่วนกับที่ดินแบ้ลงที่เกิดเหตุพิพาทซึ่งมีสภาพเปีนพื้นที่ที่มีการบุก รุกแผ้วถางเผาบ้า รวมทั้งไม่ใช่พื้นที่ที่เปีนชุมซนดั้งเดิมชองซาวกะเหรี่ยง จึงถึอเปีนการบุกรุกแผ้วถางหรือเผาบ้าเพื่อเช้า ยึดถือหรือครอบครองทำกินในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ และเมื่อคณะชองหัวหน้าอุทยานแห่งชาติแก่งกระจานได้เดินเท้าเช้าไบ้ ยังที่ดินแบ้ลงพิพาทแล้วไม่พบผู้กระทำความผิด แต่ยังคงมีเพิงพักหรือสิ่งบ้ลูกสร้างบนที่ดินแบ้ลงดังกล่าว คณะชองพนักงาน

เจ้าหน้าที่ย่อมมีอำนาจที่จะทำการรื้อถอนหรือเผาทำลายได้เพื่อ{เองกันไม่ให้ผู้กระทำความผิดน่าไปใช้ในการก่อสร้างสิ่งปลูก สร้างขึ้นใหม่ได้ แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับสิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือน และสิ่งของเครื่องใช้ส่วนตัวที่อยู่ในเพิงพักหรือสิ่งปลูก สร้างที่เป็นที่อยู่อาศัยดังกล่าวไม่ถือเป็นสิ่งผิดกฎหมายหรือสิ่งต้องห้ามศาลจึงสั่งให้เจ้าหน้าที่ซดใช้ซาวบ้านคนละ 10,000 บาท ส่วนคำซออื่นๆ ให้ยกทั้งหมด (ข่าวสด 2559)

 

       คดีช้างต้นเป็นหนึ่งในตัวอย่างความขัดแย้งระหว่างประซาซนกับเจ้าหน้าที่รัฐ โดยม่สาเหตุมาจากการบังคับใช้ กฎหมายเกี่ยวกับป่าไม้ได้แก่ พ.ร.บ.อุทยานแห่งซาติ พ.ศ. 2503 พ.ร.บ.ป่าสงวนแห่งซาติ พ.ศ. 2507 พ.ร.บ. สงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2504 และนโยบายอื่นๆ ซึ่งน่าไปสู่ช้อพิพาทเกี่ยวกับการกำหนดเขตป่าทับซ้อนพื้นที่ทำกินและที่อยู่ อาศัยของประซาซน ทั้งที่ทำกินและอยู่อาศัยมาก่อนประกาศเขตพื้นที่ป่า หรือมาบุกเบิกหลังจากมีการประกาศออกมาแล้ว ตามนโยบายการใช้ประโยซน้ที่ดินของรัฐ (ศยามล ไกรยูรวงศ์ แลคณะ 2549) และน่าไปสู่การพิสูจน์ว่าซาวบ้านรุกที่รัฐหรือ ที่รัฐทับที่ซาวบ้าน ทั้งนี้ ประเด็นดังกล่าวจะม่ความสลับซับซ้อนยิ่งๆขึ้นไปเมื่อเป็นกรณีของกลุ่มซาติพันธุหรือซาวเผ่า4ที่ มักจะต้องพิสูจน์ว่าพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ “ชุมซนห้องถิ่นดั้งเดิม” ที่แม้จะไม่ได้ม่เอกสารสิทธที่ดินตามกฎหมายแต่ตนได้อยู่ อาศัยและทำกินมาก่อนการกำหนดเขตอุทยานแห่งซาติ โดยการเป็น “ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิม” ได้นั้น คณะกรรมการสิทธิ มนุษยซนแห่งซาติได้อธิบายไว้ว่าต้องมีการใช้ประโยซน้ในที่ดินเป็นที่ดั้งบ้านเรือนและใช้เป็นที่ทำกินหรือพื้นที่ทาง การเกษตร มีวิถีการดำรง'ชีวิต ประเพณีวัฒนธรรมมาเป็นระยะเวลานาน มีลักษณะการดั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยรวมกลุ่มกัน เป็นชุมซน โดยถ้าเป็น “ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิม” แล้วย่อมจะต้องได้รับการคุ้มครองจากรัฐ และมีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมกับ หน่วยงานของรัฐในการจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยซน้จากทรัพยากรธรรมซาติสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความ หลากหลายทางซีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราซอาณาจักรไทย พุทธคักราซ 2550 มาตรา 66  และ เป็นผู้มีสิทธิที่จะอยู่อาศัยและทำกินในที่ดินพิพาท ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เรื่องการแกไ,ฃบีญหา ที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ (คณะกรรมการสิทธิมนุษยซนแห่งชาติ 2557)

 

     อันที่จริงสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลส่วนกลางและกลุ่มชาติพันธุเกี่ยวกับการพิพากษ์สิทธิในชุมชน ท้องถิ่นดั้งเดิมชองคนกลุ่มนี้ไม่ได้จำกัดแค่ในประเทศไทยเท่านั้นแต่เกิดขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลก รัฐบาลหลายประเทศทั่วโลก ปฏิเสธสิทธิที่จะอยู่อาศัยและจัดการพื้นที่ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิมชองกลุ่มชาติพันธุผ่านการออกนโยบายเพื่อน่าพื้นที่ที่กลุ่มชาติ พันธุอยู่อาศัยหลายชั่วอายุคนมาใช้ประโยชน์ ในบางกรณี รัฐบาลเองก็ออกนโยบายบังคับเคลื่อนย้ายคนกลุ่มนี้ ซึ่งส่งผลต่อ ซนเผ่าพื้นเมือง วัฒนธรรม และประเพณีชองพวกเขา ทำให้สิทธิในการครอบครองที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการ จัดการทรัพยากรยังเป็นประเด็นปิญหาสำคัญชองซนเผ่าพื้นเมืองทั่วโลก (บทiversity of Minnesota Human Rights Center 2003 และ OHCHR 2008)

 

     จากกรณีตัวอย่างขึ้นต้นนั้น หลังจากพิงคำพิพากษา "ปูคออี้" หรือนายโคอิ หรือนายคออี้ มืมิ ผู้เฒ่าซาวกะเหรี่ยงวัย 106 ปี ยืนยันกับสื่อมวลซนหลายต่อหลายสำนักว่าตนและครอบครัวไม่ได้บุกรุกป่า เพราะบ้านเกิดเมืองนอนชองตนคือใน บริเวณที่พิพาทซึ่งตนอยู่มาแต่เกิดซึ่งคือปี พ.ศ. 2454 ก่อนที่จะมืการประกาศให้เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติในปี พ.ศ.2524 และนี้านมหยดแรกก็ดื่มอยู่ตรงนั้น แต่การพิสูจน์ประเด็นนี้เป็นไปได้อย่างยากเย็นเพราะ นายโคอิ ได้รับการบันทึกตัวโดย เจ้าหน้าที่รัฐไทยเป็นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2531 ผ่านการดำเนินการสำรวจทะเบียนสำรวจบัญชีบุคคลในบ้านหรือท.ร.ซฃ ซึ่ง ดำเนินการโดยศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ซาวเขาจังหวัดกาญจนบุรี โดยนายโคอิถูกบันทึกว่าเป็นสมาซิกครอบครัวชองบ้าน บางกลอย 4 ซาวเขาเผ่ากะเหรี่ยง นับถือฝ็และเกิดที่จังหวัดเพชรบุรี แต่เป็นช่วงเวลาหลังจากที่พื้นที่ถูกกำหนดให้เป็นเขต อุทยานแห่งชาติแล้ว ดังนั้น แม้นายโคอิจะอยู่ในพื้นที่มาเนิ่นนานจริงตามที่กล่าวอ้างแต่การพิสูจน์ว่าตนอยู่มาเนิ่นนานกว่า กฎหมายที่รัฐออกก็ไม่ง่ายนัก ทั้งนี้ น้อยนักที่กลุ่มชาติพันธุจะมืเอกสารรับรองถิ่นที่อยู่หรือความเป็น “ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิม” เพราะอาจเป็นกลุ่มพลเมืองที่ตกสำรวจ อยู่ในพื้นที่ห่างไกล หรือเพียงเพราะตนเองไม่เห็นความสำคัญชองการได้สัญชาติ หรือเอกสารสิทธิเพราะไม่มีความจำเป็นกับวิถีชีวิตตน และในทางปฏิบัติแล้วก็เป็นเรื่องที่กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยก็ยอมรับมาตลอดว่าไม่สามารถดำเนินการได้อย่างครอบคลุมพื้นที่ทั่วราชอาณาจักรไทยอย่างแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ห่างไกลอำเภอหรือกิ่งอำเภอที่มีภูมิประเทศเป็นภูเขา (ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล 2554)

 

    นอกจากนี้ ยังอาจมีกรณีการบังคับเคลื่อนย้าย ที่ทำให้กลุ่มคนดังกล่าวชาดการครอบครองพื้นที่ที่ตนอ้างว่าเป็น “ชุมซนท้องลื่นดั้งเดิม” (สุทัศน์ ใจฉํ่า 2008) เซ่นจากกรณีตัวอย่าง โดยผลจากการประกาศพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ในปีพ.ศ. 2539 ได้มีโครงการอพยพผลักคันให้ซาวกะเหรี่ยง มาอยู่อาศัยบริเวณบ้านบางกลอยหมู่ 1 และบ้านโป่งลึกหมู่ 2โดย ราชการระบุว่าได้จัดหาที่ดินทำกินพร้อมที่อยู่อาศัยให้แก่ซาวกะเหรี่ยง แต่ผู้ถูกอพยพกล่าวว่าที่ดินที่ราชการให้นั้นมีผู้อื่นทำ กินอยู่แล้ว หรือไม่ก็ที่ดินเหล่านั้นไม่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก หรือไม่ได้ถูกจัดสรรที่ดินให้  จึงเป็นเหตุให้ซาว กะเหรี่ยงเหล่านี้อพยพกลับไปอยู่ในบริเวณเดิมที่ตนเองเคยอาศัย (นักข่าวพลเมือง 2558 และ ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล 2554)

 

    ทั้งนี้ แม้จะไม่พิจารณาประเด็นเรื่องเอกสารสิทธิหรือทะเบียนราษฎร์ การพยายามพิสูจน์ว่ากลุ่มชาติพันธุเคยอยู่ อาศัยในบริเวณพิพาทมาก่อนจริงโดยการใช้ภาพถ่ายทางอากาศนั้นไม่ใคร่จะตอบสนองต่อลักษณะการอยู่อาศัยชองกลุ่ม ชาติพันธุบางกลุ่มเนื่องจากกลุ่มบางกลุ่มเซ่นซนเผ่าปกาเกอะญอ หรือกะเหรี่ยงสะกอนั้นจะทำ ‘ไร่หมุนเวียน’ ทำให้มีการ เคลื่อนย้ายที่อยู่ไปเรื่อยๆแต่จะหมุนเวียนกลับมาทำในที่เดิมในช่วงเวลา 5-7 ปี (วลัยลักษณ์ ทรงคิริ 2559)

 

   อนึ่งในกรณีเดียวกันนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยซนแห่งชาติ โดยคณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยซนด้านที่ดินและป่า ก็ได้ดำเนินการตรวจสอบและพบว่ามีช้อมูลชองศูนย์พัฒนาและสงเคราะห์ซาวเขายืนยันว่า ราษฎรซาวไทยภูเขาเผ่า กะเหรี่ยงบริเวณบ้านบางกลอยบนและบ้านใจแผ่นดินเป็น “ชุมซนท้องลื่นดั้งเดิม” โดยประซากรมีอาชีพเพาะปลูกเพื่อยัง ชีพเป็นหลักรวมทั้งการหาชองป่า โดยมีการสำรวจมาตั้งแต่ พ.ศ.2526 ต่อมามีการจัดทำทะเบียน เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2531 รวมถึงนายโคอิและครอบครัว คณะอนุกรรมการฯจึงเห็นว่าการอยู่อาศัยชองซาวกะเหรี่ยงบริเวณบ้านบางกลอยบน และบ้านใจแผ่นดินมีลักษณะเป็น “สิทธิชองชุมซนท้องลื่นดั้งเดิม” และมีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมกับหน่วยงานชองรัฐในการ จัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่ตนอยู่อาศัย (คณะกรรมการสิทธิ มนุษยซนแห่งชาติ 2557) ซึ่งจะเห็นได้ว่าข้อเท็จจริงดังกล่าวชัดแย้งกับข้อเท็จจริงตามคำพิพากษาชองศาล

 

   ทั้งนี้นอกจากอุปสรรคและความยากลำบากในการพิสูจน์ข้อเท็จจริงว่าที่พิพาทเป็น “ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิม” ตามที่ กล่าวมาข้างต้นแล้ว ประเด็นที่น่าพิจารณาในมุมมองทางด้านอาชญาวิทยาในกรณีนี้คือการคัดคานกันระหว่างการปกป้อง สิ่งแวดล้อมหรือการป้องกันอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมโดยการกำหนดเขตอุทยานแห่งชาติหรือเขตอนุรักษ์[ดๆกับสิทธิชอง กลุ่มชาติพันธุใน “ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิม” ชองตน และการพิจารณาว่าการดำเนินวิถีชีวิตชองกลุ่มชาติพันธุนั้นล่งผลเสียต่อ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในลักษณะชองการเป็นอาชญากรรมต่อสิ่งแวดล้อมจริงหรือไม่ โดยเฉพาะเมื่อคนกลุ่มนี้ มักจะถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ก่อให้เกิดป้ญหาเกี่ยวกับความมั่นคง ‘ผืน และเป็นสาเหตุชองการตัดไม้ทำลายป่าและการพังทลาย ชองหน้าดินเพราะการทำไร่หมุนเวียน (อานันท์ กาญจนพันธุ 2543) หรือแท้จริงแล้วพวกเขาเป็นส่วนหนึ่งในดำรงไว้ซึ่ง ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน และจะมีวิธีการดำเนินการเพื่อหาทางออกชองความชัดแย้งเหล่านี้เซ่นไร

 

อาชญากรรมสิ่งแวดล้อมและสิทธิของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม

   อาชญากรรมสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์การตัดไม่ทำลายป่าทำให้หลายๆประเทศหันมาใช้วิธีการดั้งเขตอุทยานแห่งชาติ เขตป่าสงวน หรือพื้นที่ อนุรักษ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อป้องกันการสูญเสียพื้นที่ป่าผืนสุดท้ายไป (UNDESA 2009) โดยแนวคิดพื้นฐานการจัดการเขต ป่าอนุรักษ์ คือ การมุ่งเก็บรักษาผืนป่าเอาไวิให้เป็นพื้นที่ปราศจากมนุษย์ และปลอดภัยจากการรบกวน ซึ่งล่งผลให้มีการกีด กันชุมซนท้องถิ่นจากการใช้ประโยชน์และการอยู่อาศัยในป่า น่าไปสู่การวางนโยบายในการอพยพคนออกจากป่า โดยชุมซน ในเขตป่าถูกมองว่าเป็นสิ่งแปลกปลอมชองธรรมชาติและกิจกรรมการใช้สอยป่าเพื่อดำรงชีพซึ่งเคยมีมาแต่ดั้งเดิมถูกมองว่า เป็นวิถีทำลายธรรมชาติไม่ว่าจะเป็นการทำไร่ ล่าสัตว์ ฯลฯ (ประยงค์ ดอกลำไย และคณะ 2543)

 

    การกำหนดพื้นที่อุทยานแห่งชาติหรือพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆเป็นหนึ่งในมาตรการป้องกันอาชญากรรมต่อสิ่งแวดล้อม ยกตัวอย่างเซ่น พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ถูกอ้างอิงถึงในกรณีศึกษาในบทความนี้ ได้ระบุ หลักเกณฑ์การกำหนดเขตอุทยานแห่งชาติว่าให้พิจารณาเขตที่มีสภาพธรรมชาติเป็นที่น่าสนใจ “ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติ เดิมเพื่อสงวนไว์ให้เป็นประโยชน์แก่การศึกษาและรื่นรมย์ชองประซาซน” (มาตรา 6) รัฐจึงขีดพื้นที่ดังกล่าวขึ้นมาและห้ามมิ ให้บุคคลใดเช้าไปดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อหาผลประโยชน์ ยืดถือหรือครอบครองที่ดิน ก่นสร้าง แผ้วถาง หรือเผาป่า เก็บหา น่าออกไป ทำด้วยประการใด ๆ ให้เป็นอันตราย หรือทำให้เสื่อมสภาพ ซึ่งไม้หรือทรัพยากรธรรมชาติอื่น ห้ามน่าสัตว์ออกไป หรือทำด้วยประการใด ๆ ให้เป็นอันตรายแก่สัตว์ ฯลฯ (มาตรา 16) และให้เจ้าพนักงานมีอำนาจจับกุมปราบปรามผู้กระทำ ความผิดตามพ.ร.บ. (มาตรา 20) และล้าการฝ่า‘ผืนพ.ร.บ.นี้เป็นเหตุให้มีสิ่งปลูกสร้างขึ้นใหม่หรือมีสิ่งอื่นใดในอุทยาน แห่งชาติผิดไปจากสภาพเดิม ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจสั่งให้ผู้กระทำความผิดทำลายหรือรื้อถอนสิ่งนั้น ๆ ออกไป หรือ ดำเนินการดังกล่าวด้วยตนเอง (มาตรา 22)

 

    จากเนื้อความของพ.ร.บ.จะเห็นว่าเจตนารมณ์หลักของการกำหนดเขตอุทยานแห่งชาตินี้คือ “เพื่อให้คงอยู่ในสภาพ ธรรมชาติเดิม” ด้วยเหตุนี้ การกระทำใดๆที่เป็นความผิดตามพ.ร.บ.ฉบับนี้จึงต้องเป็นการกระทำที่จะขัดขวางหรือทำลาย ไม่ให้พื้นที่ดังกล่าวอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิม โดยกินความหมายรวมถึงการประกอบอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ

 

    คำว่าอาชญากรรมทางสิ่งแวดล้อมนั้นไม่มีความหมายที่เป็นสากลแต่มักถูกเช้าใจว่าหมายถึงคำที่ไว่ใช้อธิบายการ กระทำที่ผิดกฎหมายทั้งปวงที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและกระทำเพื่อให้บุคคล กลุ่มบุคคล หรือบริษัทใดๆ สามารถ แสวงหาประโยชน์ ทำลาย ค้าขาย ขโมย ทรัพยากรทางธรรมชาติ ทั้งนี้อาชญากรรมต่อสิ่งแวดล้อมอาจส่งผล กับทั้งสัตว์ป่า หรือความหลากหลายชีวภาพทั้งมวล ผ่านการตัดไม้ทำลายป่า การปล่อยสารพิษเพราะการใช้หรือปล่อยสารเคมีโดยไม่มีการ ควบคุม และการทำลายวิถีชีวิต (Nellemann 2016)

 

    จากคำอธิบายด้านต้นจะเห็นได้ว่าอาชญากรรมต่อสิ่งแวดล้อมนั้นมุ่งไปที่อาชญากรรมที่ประกอบขึ้นเพื่อการ แสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติเพื่อผลประโยชน์ของตนแต่กลับก่อให้เกิดความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และวิถีชีวิตของประซาซน โดยจะเห็นว่าการให้ความหมายอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมตามช้างต้นนี้มองรวมไปถึง การปกป้อง “วิถีชีวิตของมนุษย์” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติด้วย แต่นัยยะของพ.ร.บ.เกี่ยวกับเขตอนุรักษั[นไทยมิได้มอง เซ่นนั้น แต่มองในมุมที่แคบกว่าคือการคุ้มครองธรรมชาติจากกิจกรรมใดๆของมนุษย์มิให้มาแทรกแซงได้ ทั้งนี้ ล้าป้ญหาที่ พิจารณาคือกรณีของนายทุนที่มาบุกรุกป่าโดยผิดกฎหมายอาจจะสามารถสรุปไดิไม่ยากเย็นนักว่าเป็นกรณีอาชญากรรมต่อ สิ่งแวดล้อม แต่เมื่อผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดและบุกรุกพื้นที่ป่าคือกลุ่มชาติพันธุโดยเฉพาะล้าเป็นกลุ่มชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม แล้วก็เป็นที่น่าพิจารณาว่าวิถีชีวิตของคนกลุ่มนี้จะนับว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ก่อให้เกิดความ เสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศในความหมายอย่างแคบหรือไม่ และการดำเนินวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุ เหล่านี้คืออาชญากรรมต่อสิ่งแวดล้อมหรือ อีกทั้งเป็นการขัดต่อเจตนารมณ์หลักของพ.ร.บ.ในการรักษาธรรมชาติ “ให้คงอยู่ในสภาพธรรมชาติเดิม” หรือไม่ และอาชญาวิทยาสามารถอธิบายประเด็นเซ่นนี้ได้เซ่นไร ซึ่งคำตอบของคำถามเหล่านี้จะถูกอธิบายในบทความนี้

 

   สิทธิชองชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม

นนอกจากประเด็นเรื่องการพิจารณาถึงเจตนารมณ์หลักของการกำหนดเขตอุทยานแห่งชาติเพื่อรักษาธรรมชาติให้ อยู่ในสภาพเดิมและป้องกันอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมแล้ว อีกประเด็นหนึ่งที่ซ้อนทับขึ้นมาคือสิทธิของกลุ่มชาติพันธุในพื้นที่ที่ พวกเขาเป็นเจ้าของตามประเพณีซึ่งเป็นหนึ่งในสิทธิมบุษยซนที่สำคัญในพ.ศ. 2540 คณะทำงานซนเผ่าพื้นเมืองแห่งสหประซาชาติได้ทำการศึกษาประเด็นซนเผ่าพื้นเมืองและสิทธิใน ที่ดินและพบว่าการเช้าถึงที่ดินและทรัพยากรธรรมชาตินั้นมีความสำคัญมากต่อความอยู่รอดของกลุ่มชาติพันธุ โดยเน้นยํ้าถึงความสำคัญของการยอมรับและธำรงไว้ซึ่งสิทธิในที่ดินของซนเผ่าพื้นเมืองและเรียกร้องให้รัฐบาลปรึกษาหารือกับซนเผ่า พื้นเมืองเกี่ยวกับการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากร (OHCHR 2008)

 

 

    ในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2550 สมัชชาใหญ่แห่งสหประซาชาติในการประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 61 ได้มีมติรับรอง ปฏิญญาสหประซาซาซาติว่าด้วยสิทธิซนเผ่าฟืนเมือง (United Nations Declaration on the Rights of Indigenous Peoples) โดยประเทศไทยเป็น 1ใน143ประเทศที่ลงคะแนนเห็นซอบด้วย และในอารัมภบทของปฏิญญาดังกล่าวได้ระบุ ถึง “ความจำเป็นเร่งด่วนที่จะให้เกิดความเคารพและส่งเสริมสิทธิอันติดตัวมาแต่กำเนิดของซนเผ่าพื้นเมือง ซึ่งได้มาจาก โครงสร้างทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม และจากวัฒนธรรม ประเพณีทางจิตวิญญาณประวัติศาสตร์และปรัซญาฃองตน โดยเฉพาะ สิทธิเหนือที่ดิน เขตแดน และทรัพยากรของตน” ในมาตรา 8 ระบุว่ารัฐต้องจัดหากลไกที่มืประสิทธิภาพสำหรับ การป้องกันและแก้ไขป้ญหาสำหรับการกระทำใดๆที่มีเป้าหมายหรือมีผลให้พวกเขาหลุดพ้นจาก “ความเป็นเจ้าของที่ดิน เขตแดนหรือทรัพยากรของตน” หรือรูปแบบใดๆซอง “การบังคับเคลื่อนย้ายประซากรซึ่งมืเป้าหมายหรือมืผลให้เกิดการ ละเมิดหรือลิดรอนสิทธิใด ๆ ของพวกเขา” มาตรา 10 บัญญัติว่า “ซนเผ่าพื้นเมืองต้องไม่ถูกบังคับให้ออกจากที่ดินหรือเซต แดนของตน จะไม่มืการตั้งลื่นฐานใหม่เกิดขึ้นโดยปราศจากการยินยอมที่มืการบอกแจ้งเข้าใจล่วงหน้า และเป็นอิสระของซน เผ่าพื้นเมืองที่เกี่ยวข้อง (Free, Prior and Informed Consent) และหลังจากที่มืข้อตกลงในการซดเขยที่เป็นธรรม และ เหมาะสมแล้ว และหากเป็นไปได่ให้มืทางเลือกในการกสับคืนลื่นนั้นได้อีก” และท้ายสุดมาตรา 26ได้วางหลักไว้ว่า ซนเผ่า พื้นเมือง “มืสิทธิในที่ดิน เขตแดน และทรัพยากร ซึ่งพวกเขาได้ครอบครองเป็นเจ้าของตามประเพณี หรือมิฉะนั้นจากการที่ เคยใข้หรือเคยได้รับมาก่อน รวมถึงสิทธิเป็นเจ้าซอง ใช้ พัฒนา และควบคุมที่ดินและเซตแดนและทรัพยากรดังกล่าว โดยรัฐ จักต้องให้การยอมรับและการคุ้มครองในทางกฎหมายต่อที่ดิน เซตแดน และทรัพยากรเหล่านี้”  ทั้งนั้แม้เอกสารดังกล่าวจะ มืฐานะเป็นแค่ปฏิญาณและไม่มืผลผูกพันทางกฎหมายแต่การลงมติเห็นซอบย่อมสะท้อนถึงเจตจำนงของแต่ละประเทศใน การปกป้องคุ้มครองสิทธิของซนเผ่าพื้นเมืองในประเด็นต่างๆ

 

    สำหรับประเทศไทยนั้น นอกจากบทบัญญัติในมาตรา 70 ของรัฐธรรมนูญฉบับป้จจุบันซึ่งให้การส่งเสริมและให้ ความคุ้มครอง “ซาวไทยกลุ่มซาติพันธุต่างๆ”  ในสิทธิการดำรงซีวิต สังคมตามวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิมตาม ความสมัครใจแล้ว รัฐบาลไทยเองก็มืนโยบายที่สนับสนูนให้มืการฟืนฟูวิถึชีวิตกลุ่มซาติพันธุอื่นๆอีก เซ่นในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 ได้มีมติคณะรัฐมนตรี เรื่องแนวนโยบายในการพื้เนฟูวิถีชีวิตซาวกะเหรี่ยง การบัญญัติให้มีการยุติการจับกุม และใหความคุมครองกับชุมซนกลุมชาติพันธุกะเหรี่ยงพี่ปน “ชุมซนทองถิ่นดั้งเดิม” ที่อยูในพื้นที่ซอพิพาทเรื่องที่ทำกินใน พื้นที่ดั้งเดิม และจัดดั้งคณะกรรมการ หรือกลไกการทำงานเพื่อกำหนดเซตพื้นที่ในการทำกิน การอยูอาศัย และการดำเนิน วิถีชีวิตตามวัฒนธรรม เพื่อจัดการซอพิพาทการใซประโยซนหรือการถือครองพื้นที่ซองชุมซนกลุมชาติพันธุกะเหรี่ยงกับรัฐ

 

    นอกจากนี้ ยังมีดำพิพากษาที่ตัดสินโดยพิจารณาถึงสิทธิและลักษณะความเป็นอยู่ซองกลุ่มชาติพันธุเซ่นกัน เซ่น เมื่อจันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2555 ศาลปกครองจังหวัดเชียงใหม่ได้มีคำพิพากษาให้เพิกถอนประกาศกระทรวงมหาดไทยที่ แจ้งย้ายและจำหน่ายทะเบียนซาวบ้านซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุเผ่าม้งเพื่ออพยพไปรวมกับอีกอำเภอหนึ่งซึ่งเป็นอำเภอที่เพิ่ง ดั้งขึ้นใหม่ เนื่องด้วยเป็นการบังคับให้กลุ่มชาติพันธุดังกล่าว ซึ่ง“มีรัตลักษณ์ทางลังคมวัฒนธรรมซองตนเองโดยเฉพาะต้อง สูญเสียรัตลักษณ์ทางลังคมวัฒนธรรมซองตน ” โดยการยุบรวมกับอีกชุมซนหนึ่ง ที่มิได้มีค'วามเป็นมาที่เกี่ยว'ซ้องยึด'โยงกัน ในทางสังคมวัฒนธรรมและวงศ์วานเครือญาติ และยํ้าว่าการกำหนดดังกล่าวต้องคำนึงความสมัครใจซองราษฎร (ประซาไท 2555)

 

   จากข้างต้นจะเห็นได้ว่าสิทธิซองกลุ่มชาติพันธุในพื้นที่ที่เป็น “ชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิม” และการรักษารัตลักษณ์ซอง คนกลุ่มนี้นั้นได้รับการยอมรับทั้งในระดับสากลและในระดับประเทศอยู่ระดับหนึ่งแต่ยังไม่มีผลผูกพันเป็นกฎหมายซัดเจน โดยกลุ่มชาติพันธุมีสิทธิในพื้นที่อยู่อาศัยและทำกินดั้งเดิมซองตน มีความเป็นเจ้าซองที่ดินเซตแดนหรือทรัพยากรซองตน ซึ่ง รัฐจะต้องให้ความคุ้มครอง

 

   นอกจากสิทธิตามกฎหมายแล้ว กลุ่มชาติพันธุทุกคนมีความผูกพันทางด้านจิตวิญญาณ วัฒนธรรม สังคม และ เศรษฐกิจกับชุมซนท้องถิ่นดั้งเดิมซองพวกเซา โดยกฎหมาย ประเพณี และแนวปฏิบัติตามประเพณีทั้งหลายซองพวกเซา ล้วนสะท้อนความผูกพันต่อผืนแผ่นดินและหน้าที่ในการรักษาผืนแผ่นดินดังกล่าวเพื่อลูกหลานรุ่นต่อไป (OHCHR 2008) สิทธิในที่ดินในมุมมองคนทั่วไปแล้วอาจนำไปสู่การเข้าถึงอาหาร ที่พักอาศัย และการพัฒนา แต่สำหรับกลุ่มชาติพันธุแล้ว ผืนแผ่นดินบรรพบุรุษซองเซามีความหมายมากไปกว่านั้น มันหมายถึงสายใยซองพวกเซากับบรรพบุรุษ วัฒนธรรม และ ภาษา พวกเซามีความสัมพันธ์ทางด้านจิตวิญญาณอย่างลึกขึ้งกับพื้นที่ที่อยู่อาศัย โดยรู้สึกว่าพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ซอง บรรพบุรุษ เป็นที่ที่ผืงร่างซองบรรพบุรุษไว้ และรู้สึกว่าตนเองต้องรับผิดชอบในการรักษาความสมบูรณ์ซองผืนดินผืนนั้นไว้ ทั้งดินและนั้า พิซพันธุและสัตว์ป่า เพื่อตนเองและลูกหลานสืบไป (Young 2000) การเสียที่ดินไปหมายถึงการสูญเสียซึ่งวิถี ชีวิต การที่พวกเซาไม่สามารถเข้าถึงและควบคุมผืนแผ่นดินซองพวกเซาได้นั้นเป็นการสั่นคลอนการคงอยู่ซองพวกเซาอย่าง รุนแรงและก่อให้เกิดอันตรายต่อการจัดการทรัพยากรอย่างเหมาะสมในเวลาเดียวกัน (Open Society Foundations 2017) การเผชิญหน้าระหว่างอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมกับสิทธิของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม

 

   ในการเผชิญหน้ากันระหว่างการป้องกันอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมและสิทธิของชุมชนห้องถิ่นดั้งเดิมนี้ ประการ สำคัญควรพิจารณาเสียก่อนว่าวิถีชีวิตของกลุ่มชาติพันธุนี้จะนับว่าเป็นการแสวงหาประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติที่ ก่อให้เกิดความเสียหายกับทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศซึ่งถือว่าเป็นการประกอบอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมตาม ความหมายอย่างแคบหรือไม่ และความสัมพันธ์ของทั้งคู่เป็นเซ่นไร โดยค้นหาคำตอบจากสองระนาบ คือ จากมุมมองอาญา วิทยาและจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

 

    ในมุมอาชญาวิทยา

ในมุมมองอาชญาวิทยานั้นทฤษฎีที่มักถูกน่ามาอธิบายอาชญากรรมสิ่งแวดล้อม ได้แก่ทฤษฎีการตัดสินใจเลือกอย่าง มีเหตุผล และทฤษฎีการควบคุมตนเอง

ทฤษฏีการตัดสินใจเลือกอย่างปีเหตุผล หรือ Rational Choice Theory เป็นหนึ่งในทฤษฎีที่ไค้รับความนิยมอย่าง มากในการอธิบายอาชญากรรมสิ่งแวดล้อม (Siegel 2016) โดยทฤษฎีดังกล่าวอธิบายว่าคนจะประกอบอาชญากรรมเมื่อชั่ง นี้าหนักแล้วเห็นว่าประโยชน์ที่ตนจะไค้มีมากกว่าความเสี่ยงที่จะถูกจับกุม โดยมีป้จจัยทั้ง ความโลภ (Greed) ใดนการ ตัดสินใจที่จะเลือกทางสัดเพื่อนำไปสู่ความรํ่ารวยและเชื่อว่ากำไรและผลประโยชน์ที่ตนจะไค้รับจะมากมายกว่าการลงโทษที่ อาจจะตามมาในอนาคต การถูกล่อลวง (Lure)lm Niel Shover และ Peter Grabosky นักอาชญาวิทยาอธิบายสาเหตุ เหล่านี้ว่าคือการถูกล่อลวงด้วยบางสิ่งบางอย่างที่น่าดึงดูดและเป็นที่ต้องการ และเมื่อเห็นโอกาสใดๆในซ่องว่างกฎหมายก็ จะใช้โอกาสดังกล่าวในการกระทำผิด เพราะไม่สามารถต้านทานผลประโยชน์ที่ล่อลวงไค้ ทั้งนี้การล่อลวงจะเกิดไค้ง่ายเมื่อ ไม่มีการควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพเพียงพอ รวนกึงใ)จจันความต้องการ (Need)ทั้งความต้องการค้านการเงินและค้าน จิตใจ เซ่นต้องการประสบความสำเร็จค้านการงาน เพราะเติมเต็มอัตตาของตัวเอง เพื่อล่งเสียเลี้ยงดูบุตร หรือประสบการณ์ ในอดีต (Nellemann 2016) จากทฤษฎีดังกล่าวการที่จะตัดสินว่ากลุ่มชาติพันธุเป็นอาชญากรสิ่งแวดล้อมจึงต้องพิจารณา ว่าการใช้ชีวิตอยู่ในพื้นที่อนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของพวกเขามีเป้าหมายเป็นการแสวงหาผลประโยชน์หรือ ความสุฃที่มีมากกว่าความเกรงกลัวต่อกฎหมายเซ่นนั้นหรือไม่ หรือการที่พวกเขาปฏิเสธไม่อยู่ในพื้นที่ที่รัฐจัดหาให้เป็นไป เพราะผลประโยชน์ที่จะไค้จากการอาศัยในพื้นที่เดิมอย่างนั้นหรือ และวิถีชีวิตของพวกเขาเป็นไปเพื่อแสวงหาประโยชน์เกิน กว่าความจำเป็นและล่งผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือเพียงเพื่อการดำรงชีพเท่านั้น

 

   ทฤษฏีการควบคุมตนเอง หรือ Self Control Theory ก็มักถูกน่ามาใช้อธิบายอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมโดยวาง หลักไว้ว่าอาชญากรรมอาจเกิดขึ้นเพียงเาAเราะผู้กระทำผิดเป็นคนที่มีความยับยั้งชั่งใจตํ่า ควบคุมตนเองได้ตํ่า เลยมีแนวโน้ม จะกระทำการตามแรงกระตุ้นต่างๆโดยไม่คำนึงถึงผลกระทบในระยะยาว (Hirschi and Gottfredson 1990) เซ่นเดียวกัน กับด้านบนเมื่อน่าทฤษฎีมาปรับเช้ากันกับกรณีนี้ก็จำต้องมีการพิสูจน์ว่าการอยู่อาศัยในพื้นที่ชองกลุ่มชาติพันธุจะส่งผลต่อ ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมหรือไม่ เซ่น คนกลุ่มนี้แสวงหาประโยชน์ในพื้นที่จากการทำไร่เลื่อนลอย ทำลายหน้าดิน และสร้าง ผลกระทบต่อธรรมชาติ โดยคิดเพียงผลประโยชน์สั้นๆและไม่ได้มองถึงผลกระทบในระยะยาวหรือไม่ และการกระทำ ดังกล่าวส่งผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติหรือไม่

 

    นอกจากนี้ในต่างประเทศยังม่ทฤษฎีมากมายที่ถูกใช้อธิบายการประกอบอาชญากรรมชองกลุ่มชาติพันธุ เซ่น ทฤษฏีความกดดันทางสังคม หรือ Strain Theoryซึ่งมองว่าเมื่อบุคคลเผชิญกับความยากลำบากในการบรรลุเป้าหมายทาง ลังคมโดยถูกกฎหมาย บุคคลเหล่านั้นจะใช้ทางที่ไม่ถูกกฎหมายในการบรรลุเป้าหมาย รวมไปถึงการประกอบอาชญากรรม โดยอาชญากรรมนี้ม่สิทธิเกิดสูงเมื่อบุคคลรู้สึกว่าตนถูกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม (Disjunction between just/fair outcome and actual outcome) หรือการถูกถอนแรงกระตุ้นทางบวก (Removal of positive stimuli) โดยป้ญหา ความยากจน การถูกกีดกัน ความหวาดระแวง และการรู้สึกว่าตนไร้อำนาจต่อรองใดๆ อาจน่าไปสู่ความกดดัน ความโกรธ และน่าไปสู่การก่ออาชญากรรมได้ตามทฤษฎีนี้ นอกจากนี้ยังมี ทฤษฏีความระเบียบทางสังคม หรือ Social Disorganization Theory ซึ่งมองว่าในบริเวณที่ม่ความไม่เป็นระเบียบสูง ม่ความยากจน เป็นพื้นที่พหุวัฒนธรรม และมี การเคลื่อนไหวลับเปลี่ยนชองผู้อยู่อาศัยสูง ทำให้ผู้อยู่อาศัยไม่เกิดความหวงแหนและผูกพันร่วมกัน ทำให้กลไกการควบคุม ชองสังคมอ่อนแอลง และม่แนวโน้มจะประกอบอาชญากรรมสูง และ ทฤษฏีการตีตรา หรือ Labelling Theoryซึ่งมอ'ง'ว่า บุคคลประกอบอาชญากรรมเพราะพวกเขาถูกตีตราโดยสังคมว่าเป็นกลุ่มที่ม่พฤติกรรมเบี่ยงเบน (Broadhurst 2002)

 

    ทั้งนี้ ทฤษฎีอาชญาวิทยากระแสหลักทั้งสามทฤษฎีในวรรคช้างต้นเหล่านี้ล้วนมองกลุ่มชาติพันธุในฐานะกลุ่มซน กลุ่มน้อยทางวัฒนธรรมที่ถูกกดดัน สภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวย และตีตรา จนไปประกอบอาชญากรรม แต่ในมุมมอง ผู้เขียนเห็นว่าลำหรับประเด็นซึ่งกำลังพิจารณาในบทความนี้ทฤษฎีเหล่านี้อาจไม่สามารถน่ามาใช้อธิบายกรณีที่กำลังศึกษา ได้นักเพราะทฤษฎีดังกล่าวไม่สามารถอธิบายได้ซัดเจนว่าอะไรเป็นสาเหตุที่เราจะสรุปว่าการดำเนินวิถึขีวิตฃองกลุ่มชาติพันธุ ในผืนป่าล่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยรวมได้โดยเฉพาะในกลุ่มที่อาศัยในพื้นที่มาเนิ่นนาน ล้าจะอธิบายว่าเพราะพวกเขา เผชิญแรงกดดันจากลังคมจึงตัดไม้ทำลายป่า กรณีนี้ก็ไม่สามารถอธิบายกลุ่มที่สามารถอยู่อาศัยในผืนป่าที่ม่วิถึขีวิตดั้งเดิม โดยไม่ได้ถูกแทรกแซงใดๆรวมทั้งมิได้ถูกกดดันให้ละทิ้งพื้นที่และโยกย้ายถิ่นได้ อีกทั้งการดำเนินวิถึขีวิตต่างๆชองพวกเขา นั้นเป็นการสืบทอดมาตามประเพณีจากรุ่นสู่รุ่นมิใซ่การเปลี่ยนพฤติกรรมเพราะแรงกดดันจากลังคม หรือล้าจะสรุปว่าเพราะ พวกเขาถูกตีตราจึงตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อนลอย เก็บชองป่า ตามที่ถูกกล่าวหาตามทฤษฎีตีตรานั้นก็ไม่ใคร่จะถูกต้องนัก เพราะกิจกรรมเหล่านี้ก็ดำรงอยู่มาหลายชั่วอายุคนมิใซ่ถูกใครตีตรา หรือการอยู่อาศัยชองพวกเขาในชุมซนม่ลักษณะเป็น ชุมซนไร้ระเบียบนั้นก็ไม่น่าจะถูกต้องนักอีกเซ่นกันเพราะกลุ่มชาติพันธุม่ประเพณีชองตนเองและยังผูกพันกับพื้นที่มากอีก ด้วย มิใซ่กลุ่มที่เคลื่อนย้ายสับเปลี่ยนกันตลอดจนขาดความผูกพันกับพื้นที่ ทั้งนี้ ผู้เขียนเห็นว่าทฤษฎีเหล่านี้จะอธิบายได้ดี ในมุมมองของกลุ่มชาติพันธุในสังคมตะวันตกที่ต้องมาอยู่อาศัยรวมกับคนในเมืองและถูกมองว่าเป็นคนป่าเลื่อนและขอบใช้ ความรุนแรง ทำให้คนกลุ่มนี้มืแนวโน้มการก่ออาชญากรรมตามทฤษฎีดังกล่าว นอกจากนี้ก็สามารถมองได้อีกเซ่นกันว่าถ้า กลุ่มชาติพันธุในประเทศไทยถูกบังคับโยกย้ายจากพื้นที่บรรพบุรุษซึ่งพวกเขามืความผูกพันอย่างลึกซึ่งในด้านจิตวิญญาณมา อยู่อาศัยร่วมกับคนในเมืองแล้ว กลุ่มคนเหล่านี้อาจมืความเป็นไปไดีในการก่ออาชญากรรมสูงเพราะการถูกบังคับเคลื่อนย้าย จากที่ดินตามประเพณีสำหรับพวกเขานั้นเปรียบเสมือนการถูกถอนแรงกระตุ้นทางบวกซึ่งอาจทำให้กลุ่มคนเหล่านี้ประกอบ อาชญากรรมเพราะความกดดัน สร้างสังคมไร้ระเบียบขึ้นในชุมชน หรือถูกตีตราโดยคนห้องลื่นว่าเป็นพลเมืองขั้นสอง เซ่นที่ เกิดในประเทศอเมริกาและออสเตรเลีย (Broadhurst 2002)

 

    ในขณะเดียวกันก็มืทฤษฎีทางอาชญาวิทยาอีกแขนงหนึ่งที่ให้คำอธิบายที่ในมุมกลับต่อประเด็นบีญหานี้ ได้แก่ ทฤษฏีความขัดแย้งทางวัฒนรรรม หรือ Culture Conflict Theory ซึ่งมองว่าความชัดแย้งทางวัฒนธรรมเป็นเหตุให้ซน กลุ่มน้อยในสังคมก่ออาชญากรรมเพราะกฎหมายอาญานั้นถูกร่างขึ้นเพื่อปกบีองคุณค่าและผลประโยชน์ชองกลุ่มที่มือำนาจ ในขณะที่แนวคิดเรื่องคุณค่าและบรรทัดฐานชองซนกลุ่มน้อยในสังคมจะต่างออกไป แต่ในเมื่อชัดแย้งกัน ความประพฤติชอง คนเหล่านี้จึงถูกมองว่าเป็นความประพฤติเบี่ยงเบนหรือเป็นอาชญากรรม (Sellin 1938) เซ่นการดำรงขีวิตชองกลุ่มชาติ พันธุในผืนป่านั้นชอบธรรมในมุมมองทางประเพณีและวัฒนธรรมชองพวกเขา ซึ่งรวมถึงการทำไร่หมุนเวียน การเก็บชองป่า บริโภค แต่ไม่ใช่วิธีที่ถูกตามกฎหมายชองคนที่เป็นส่วนใหญ่หรือวัฒนธรรมหลักที่มองเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในเซิงแยก คนออกจากป่า

 

    นอกจากนั้นยังมืแนวคิดอาชญาวิทยาหลังสมัยนิยมเซ่น อาชญาวิทยาเชิงวัฒนรรรม หรือ Cultural Criminology ซึ่งมองสาเหตุการก่ออาญากรรมในมุมที่ต่างไปจากทฤษฎีดั้งเดิมอื่นๆ โดยพิจารณาอิทธิพลชองวัฒนธรรมต่อการเกิด อาชญากรรม เพื่อให้เช้าใจถึงอาชญากรรมบางลักษณะที่อาจเป็นกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ชองคนในสังคมและเช้าใจถึง มุมมองการเมืองในการบังคับใช้กฎหมาย (Ferrell 2015) โดยวางหลักไว้ว่าการพยายามเช้าใจอาชญากรรมต้องทำบน พื้นฐานความเช้าใจด้านวัฒนธรรมชองคนกลุ่มนั้นๆ การเอาวัฒนธรรมชองคนส่วนมากในสังคมไปจับหรืออธิบายวัฒนธรรม ที่ชัดต่อวัฒนธรรมชองตนว่าเป็นอาชญากรรมอาจไม่ถูกต้องครอบคลุมนัก โดยตามแนวคิดแขนงนี้นั้นการจะสรุปว่ากลุ่มชาติ พันธุอาจล่งผลต่ออาชญากรรมสิ่งแวดล้อมหรือสมดุลธรรมชาตินั้นจำต้องทำความเช้าใจถึงวัฒนธรรมชองกลุ่มชาติพันธุใน การมืวิถึiชีวิตอยู่,ในผืน'ป่าด้วย

 

    ในมุมด้านงานวิจัยและการหาคำตอบในเวทีโลก

ก่อนเช้าสู่เนื้อหาการวิจัยในประเทศไทยอาจต้องเท้าความไปถึงจุดกำเนิดที่สะท้อนถึงการช้อนทับกันระหว่างการ ปกบีองสิ่งแวดล้อมและสิทธิในชุมซนท้องลื่นดั้งเดิมชองกลุ่มชาติพันธุและพัฒนาการชองสองประเด็นนี้ในเวทีโลกเลียก่อน โดยจะเห็นว่าในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ปรากฏกลุ่มเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมขึ้น และการต่อสู่เพื่อรักษา สิ่งแวดล้อมในช่วงแรกนั้นไม่ได้มีการกล่าวถึงกลุ่มชาติพันธุเลยโดยส่วนใหญ่จะเน้นไปที่การปกป้องสิ่งแวดล้อมจากการ แทรกแซงโดยมนุษย์มากกว่าโดยไม่ได้พิจารณาในประเด็นที่ว่าความเสื่อมโทรมของธรรมชาตินั้นจะล่งผลต่อมนุษย์อย่างไร จนกระทั้งปีค.ศ. 1992 ที่กลุ่มชาติพันธุถูกอ้างอิงถึงอย่างซัดเจนในการประชุมสหประซาชาติว่าด้วยสิ่งแวดล้อมและการ พัฒนาหรือ Earth Summit โดยได้รับการยอมรับว่าเป็นกลุ่มสำคัญที่มี “ความสัมพันธ์เฉพาะ” กับสิ่งแวดล้อม และประเด็น ปิญหาชองกลุ่มชาติพันธุได้รับการพิจารณา โดยการประชุมดังกล่าวกลายมาเป็นเวทีสำคัญในการส่งต่อข้อความชองกลุ่ม ชาติพันธุต่อประซาคมโลกเกี่ยวกับการน่าความรู้และแนวปฏิบัติทางด้านนิเวศวิทยาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษมาไข้ในการ แก้ปีญหาสิ่งแวดล้อมโลก โดยถูกระบุในเอกสาร เช่น Convention on Biological Diversity ซึ่งเป็นจุดที่ทำให้บทบาทชอง กลุ่มชาติพันธุในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้รับการยอมรับมากขึ้น (UNDESA 2009)

 

   บทบาทชองกลุ่มชาติพันธุในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้รับการยอมรับมากขึ้นเรื่อยๆในเวทีสากล เช่นจากรายงาน ชองธนาคารโลกซึ่งยอมรับว่าซนเผ่าพื้นเมือง (หรือกลุ่มชาติพันธุ) มีบทบาทในการปกป้องความหลากหลายทางชีวภาพที่ เหลืออยู่กว่า 80% ชองโลก โดยพื้นที่และแหล่งนั้าที่สำคัญยังคงสมบูรณ์อยู่ก็เพราะเป็นผลมาจากการดูแลชองซนเผ่า พื้นเมือง โดยคนเหล่านี้ภูมิป้ญญาและความเชี่ยวชาญจากบรรพบุรุษที่สำคัญมากมายในการปรับตัว บรรเทา และลดความ เสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาวะอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ (World Bank 2017) ปฏิญาณริโอว่าด้วย สิงแวดล้อมและการพัฒนา (Rio Declaration of Environment and Development) ก็ได้เน้นยำถึงความสัมพันธ์พิเศษ ระหว่างกลุ่มชาติพันธุกับพื้นที่ที่พวกเขาอยู่อาศัย โดยเน้นยํ้าว่ากลุ่มชาติพันธุมีบทบาทสำคัญในการจัดการและพัฒนา สิ่งแวดล้อมเพราะความรู้และแนวปฏิบัติที่สืบทอดกันมาตามประเพณีชองพวกเขา (ข้อที่ 22) และใน Agenda 21 กล่าวว่า เพื่อให้ได้ใช้ความรู้นี้อย่างเต็มที่ กลุ่มชาติพันธุบางกลุ่มอาจต้องการที่จะควบคุมพื้นที่มากขึ้น รวมถึงการได้รับอนุญาตให้ จัดการทรัพยากรด้วยตนเอง และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจใดๆที่จะล่งผลถึงพวกเขา (ข้อที่ 26.4) (บทiversity of Minnesota Human Rights Center 2003) นอกจากนี้ในอารัมภบทชองปฏิญญาสหประซาซาชาติว่าด้วยสิทธิซนเผ่า พื้นเมืองก็ให้การยอมรับกลุ่มชาติพันธุในฐานะต้นแบบผู้ดูแล (stewardship) ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

 

    ในระดับภูมิภาคนั้นก็ได้รับการยอมรับเช่นกัน อาทิ เช่น ในปีค.ศ. 1985 คณะกรรมการสิทธิมบุษยซนแห่งทวีป อเมริกาได้ตัดสินว่าความล้มเหลวชองรัฐบาลบราซิลในการป้องกันโครงการพัฒนาพื้นที่ที่ทำลายวิถีชีวิตชองซาว Yanomami นั้นเป็นการจงใจทำลายวัฒนธรรมชองซนเผ่าพื้นเมือง โดยในกรณีนี้การปกป้องวัฒนธรรมชองซนเผ่าเป็นการ ปกป้องสิ่งแวดล้อมจากโครงการพัฒนาไปในตัว ซึ่งเป็นการสะท้อนว่าสิทธิทางด้านสิ่งแวดล้อมและสิทธิชองกลุ่มชาติพันธุ มักจะล่งเสริมซึ่งกันและกัน (Renteln 2004)

 

   อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นการตัดไม้ทำลายป่าหรือการตัดสินใจตั้งเขตอนุรักษ์นั้น หลายภาคส่วนอาจละเลยไปว่าผู้ ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุดจากกิจกรรมดังกล่าวคือกลุ่มชาติพันธุ เพราะเมื่อมีการตัดไม้ทำลายป่า พืชพันธุและสัตว์ป่าก็ หายไป แนวทางการยังชีพแบบพึ่งพาผืนป่าก็ไม่อาจดำเนินไปได้ และบังคับให้พวกเขาต้องโยกย้ายที่อยู่ สูญเสียวิถีชีวิตใน การส่าสัตว์และเก็บของป่ากิน และกลายเป็นป่ญหาสังคมในเวลาต่อมาซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีที่กล่าวมาด้านบน เซ่น ทฤษฎี ความกดดันทางสังคมและทฤษฎีสังคมไร้ระเบียบ เซ่นเดียวกับการตั้งเขตอนุรักษ์ที่ทำให้คนกลุ่มนี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในผืน ป่าได้และถูกบังคับโยกย้ายไปยังพื้นที่อื่น หรือถูกจับกุมและคุมขังเพราะการประกอบกิจกรรมตั้งเดิมในพื้นที่พิพาท ทั้งนี้ การตัดสินใจกำหนดเขตดังกล่าวมักไม่ได้เปีดให้กลุ่มชาติพันธุเหล่านี้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ โดยการตั้งเขตอนุรักษ์ ดังกล่าวเป็นที่นิยมมาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 โดยพื้นที่เหล่านี้มักจะถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ในความคุ้มครองของรัฐ โดย ไม่ได้รับการยินยอมหรือพิจารณาลักษณะการใช้พื้นที่ของกลุ่มชาติพันธุว่าเป็นคุณหรือโทษต่อการอนุรักษ์พื้นที่ในการ ตัดสินใจเลย โดยส่วนใหญ่จะเป็นไปเพื่อ “ประโยชน์ของคนนอก” (Borgerhoff และ Coppolillo 2005) เซ่นกรณีอุทยาน แห่งชาติ Yellowstone ในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่กำหนดเขตพื้นที่เป็นอุทยานแห่งชาติเพื่อประโยชน์ของคนรุ่นต่อไป แต่ กลับไม่ได้พิจารณาถึงกลุ่มชาติพันธุที่เป็นผู้อยู่อาศัยในพื้นที่ (UNDESA 2009)

 

    จากพัฒนาการการยอมรับสิทธิชองกลุ่มชาติพันธุเป็นส่วนหนึ่งชองการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมช้างต้นจะเห็นได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะบทบาทของพวกเขาในการจัดการและพัฒนาสิ่งแวดล้อมตาม ความรู้และแนวปฏิบัติที่สืบทอดกันมาตามประเพณีของพวกเขานั้นได้รับการยอมรับและเคารพในเวทีโลก ซึ่งเป็นการ ปฏิเสธสมมติฐานที่ว่ากลุ่มชาติพันธุนั้นก่ออาชญากรรมต่อสิ่งแวดล้อมตามทฤษฎีการตัดสินใจเสือกอย่างมีเหตุผลและทฤษฎี การควบคุมตนเอง ซึ่งไม่ใช่เพราะว่าพวกเขาชั่งนี้าหนักแล้วว่าไม่คุ้มค่าที่จะกระทำหรือมีความยับยั้งชั่งใจแต่ประการใด แต่ เป็นเพราะวิถีชีวิตชองพวกเขาไม่ได้ถูกมองว่าเป็นการแสวงหาผลประโยชน์จากธรรมชาติหรือการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ แต่กลับได้รับการยอมรับในฐานะผู้จัดการดูแลสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

 

ในประเทศไทยนั้น ตามที่กล่าวไปด้านต้นคือรัฐมักจะเน้นประเด็นการอพยพกลุ่มชาติพันธ์ออกจากพื้นที่ โดยมักมี การกล่าวหาว่าวิธีการดำรงชีวิตของกลุ่มชาติพันธุเป็นสาเหตุการตัดไม้ทำลายป่า การพังทลายของหน้าดิน บีญหาด้านความ มั่นคง และฝืน (ยศ สันตสมบัติ 2543) ทั้งนี้ได้มีการวิจัยทางวิชาการหลายชิ้นในการวิเคราะห์วาทะกรรมดังกล่าว และ สรุปว่าวาทะกรรมดังกล่าวเป็นวิธีคิดที่ผิดพลาดและมีอคติ เซ่น งานของ Robert Cooper ที่สรุปว่าความสัมพันธ์ระหว่าง การทำไร่หมุนเวียนและผลกระทบที่เกิดชิ้นนั้นยังไม่มีความขัดเจน กรณีฝืนและความมั่นคงก็ด้นพบว่ามีกลุ่มชาติพันธุจำนวน ไม่มากนักที่ปลูกฝืนและปลูกเพื่อการบริโภคหรือการค้าภายในเท่านั้น กลุ่มที่ค้าขายฝืนระดับโลกจะกระจุกอยู่บริเวณ สามเหลี่ยมทองคำ แต่การน่าไปกล่าวอ้างแบบเหมารวมของรัฐนั้นเป็นการสร้างบีญหาแก่ซาวเขา (Cooper 1979) นอกจากนี้ยังมีMckinnon ซึ่งอธิบายว่าการพังทลายของหน้าดินและความเสื่อมโทรมของดินนั้นไม่ได้เกิดจากการทำไร่ หมุนเวียน หากแต่เกิดจากโครงการของรัฐเซ่นการสร้างถนน (Mckinnon 1987) หรืองานวิจัยของชูพินิจที่ศึกษาเกี่ยวกับ ศักยภาพในการจัดการทรัพยากรดิน-ใ!า-ป่าของซาวกะเหรี่ยง และการดูแลธรรมชาติอย่างสมดุล ทำให้มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ ล้อมรอบหมู่บ้าน และผลกระทบจากการแทรกแซงจากส่วนกลาง ซึ่งทำให้การจัดการทรัพยากรของซาวบ้านมีการ ปรับเปลี่ยน เพราะถูกมองว่าผิดกฎหมาย (ชูพินิจ เกษมณี 2539) หรือการวิจัยเกี่ยวกับการสืบทอดวัฒนธรรมการจัดการ ทรัพยากรป่าไมีในขุมซนไทลื้อ โดยศึกษาด้านการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งซาวไทลื้อไดิใซ้ระบบวัฒนธรรมในการปลูกผิงให้ ซนรุ่นหลังตระหนักและเห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมซาติ เซ่น พิธีการสืบซะตาป่า พิธีการบวซต้นไม้ ความเชื่อเกี่ยวกับการ ฟ้นไร่ และความเชื่อเกี่ยวกับการตัดไม้ เบ้นต้น (ณัซซภัทร พานิซ 2545)

 

    จากงานวิจัยของประเทศไทยด้านต้นก็เบ้นการเบ้นยํ้าอีกเซ่นกันถึงความสัมพันธ์ของกลุ่มซาติพันธุและการปกป้อง สิ่งแวดล้อมว่าสามารถมีความสัมพันธ์ในลักษณะพึ่งพากันได้ และเบ้นตัวอย่างให้เห็นว่ากลุ่มซาติพันธุเองก็สามารถดำรงวิถี ชีวิตไปพร้อมๆกับการอนุรักษ์ธรรมซาติไปด้วยได้ โดยไม่ได้อยู่ในฐานะอาซญากรสิ่งแวดล้อมแต่เบ้นผู้ดูแลพื้นที่จาก อาซญากรรมรูปแบบดังกล่าว ซึ่งเบ้นการปฏิเสธสมมติฐานตามทฤษฎีการตัดสินใจเสือกอย่างมีเหตุผลและทฤษฎีการควบคุม ตนเองไปในตัว นอกจากนี้จะเห็นว่างานวิจัยบางชิ้นเซ่นของซูพินิจ เกษมณ์ นั้นสะท้อนแนวคิดทฤษฎีความขัดแย้งทาง วัฒนธรรมเพราะมองว่ากฎหมายของรัฐเบ้นตัวเข้าไปแทรกแซงและทำให้วิถีชีวิตดั้งเดิมกลายเบ้นผิดกฎหมาย โดยมิได้ พิจารณาลักษณะการไข้พื้นที่ของกลุ่มซาติพันธุว่าเบ้นคุณหรือโทษต่อการอนุรักษ์พื้นที่

 

    สุดท้ายนี้ผู้เขียนอยากหยิบยกประเด็นถึงการมองอาชญากรรมในเซิงวัฒนธรรมตามแนวคิดอาชญาวิทยาหลังสมัย นิยม เพื่อให้มองสาเหตุอาซญากรรมในมุมวัฒนธรรมมากชิ้นโดยกิจกรรมตามประเพณีบางอย่างนั้นอาจเบ้นกิจกรรมที่มี ประโยชน์แต่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เซ่นในประเด็นของกลุ่มซาติพันธ์บางซนเผ่าอย่างซนเผ่าปกาเกอะญอ หรือกะเหรี่ยง ซึ่ง ถือว่าเบ้นซนเผ่าที่มีจำนวนประซากรมากที่สุดของประเทศ ก็มักถูกมองว่าเบ้นต้นแบบของการอนุรักษ์ธรรมซาติ โดยพวก เขาเหล่านี้ล้วนมองว่าการรักษาผืนป่ายังคงเบ้นเสมือน ‘หัวใจ’และ ‘ชีวิต’ของพวกเขา โดยมีพิธีกรรมหลายอย่างเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมซาติ เซ่น,พิธีเลี้ยงผีป่า ผืเจ้าที่ ผืนั้า ผีหมู่,บ้าน แม้แต่เมื่อลูกเกิดมาก็จะเอารกมาผูกกับต้นไม้ไห้รู้ว่าเขามีความ ผูกพันกับธรรมซาติ แต่มักถูกเข้าใจผิดจากคนภายนอกว่าการทำ ‘ไร่หมุนเวียน’ของคนกลุ่มนั้ศึอการทำลายธรรมซาติเบ้น การรุกเข้าถากถางทำลายป่าเพื่อปลูกพิซเลื่อนลอยไปเรื่อยๆ แต่ความจริงแล้วการทำไร่หมุนเวียนของซาวเขากลุ่มนั้มีการ กำหนดพื้นที่หมุนเวียนกลับมาทำในที่เดิมค่อนข้างขัดเจนในซ่วงเวลา 5-7 ปี ลักษณะการทำไร่เบ้นการปลูกพืซแบบ ผสมผสานและเบ้นการทำงานร่วมกันแบบส่วนรวม ไม่ไข้ยาฆ่าแมลงหรือป๋ย ไม่ต้องพลิกหน้าดิน โดยซาวบ้านจะเผาใบไม้ แห้งซึ่งจะกลายเบ้นป๋ยธรรมซาติ (วลัยลักษณ์ ทรงคิริ 2559, องอาจ เดซา 2555 และปีนแก้ว เหลืองอร่ามศรี อ้างถึงใน ประซาไท 2559) ในบางพื้นที่เซ่น ซาวปกาเกอะญอ ที่บ้านห้วยหินลาดใน ตำบลบ้านโป่ง อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัด เชียงราย ซึ่งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งซาติขุนแจ ก็เสือกที่จะอยู่อาศัยในผืนป่าที่เคยถูกตัดไม้เนื่องจากสัมปทานป่าไปหมดแล้ว แต่ป่าไม้ก็พินตัวได้เพราะพวกเขาร่วมมือกันรักษาพินพิ โดยขุมซนแห่งนี้ดำรงชีพด้วยวิถีเกษตรแบบผสมผสาน การทำ เกษตรบนพื้นที่สูงซึ่งผสมผสานระหว่างความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร และมีแนวคิดรักษาผืนป่ากว้างใหญ่ท่ามกลาง สภาพป่าที่ถูกบุกรุกจนได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวปัจจุบันจึงมีกลุ่มคนจากหลายองค์กรได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เซ่น นักวิชาการซาวญี่ป่น พระปฏิบัติธรรม พระบัณฑิตอาสา นักวิชาการ นักพัฒนา เอ็นจึโอ เป็นต้น (วลัยลักษณ์ ทรงคิริ 2559) ทั้งนี้ในพื้นที่ที่พวกเขาส่วนใหญ่อยู่อาศัยนั้นกลับถูกประกาศเป็นพื้นที่อนุรักษ์และพวกเขาต้องโยกย้ายออกจากพื้นที่ โดยมิได้มีการพิจารณาลักษณะการใช้พื้นที่ชองกลุ่มชาติพันธุว่าเป็นคุณหรือโทษต่อการอนุรักษ์พื้นที่ในการตัดสินใจเลย เพราะเป็นการกำหนดนโยบายตามแนวคิดดั้งเดิมที่มองว่าการปกปัองสิ่งแวดล้อมจะต้องปกปัองจากการแทรกแซงโดย มนุษย์ทุกรูปแบบโดยมิได้พิจารณามนุษย์ในฐานะปัจจัยหนึ่งชองการอนุรักษ์หรือพิจารณาคำว่าอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมใน ความหมายอย่างกว้างนั่นเอง

 

    หนทางแห่งการประนีประนอม

ปัจจุบันก็มีการได้มีแนวทางการอนุรักษ์แบบใหม่ที่มีความประนีประนอมกับกลุ่มชาติพันธ์และความรู้ที่สืบทอดมา ตามประเพณีชองคนเหล่านี้มากขึ้น โดยประมาณช่วงปลายค.ศ. 1980 และต้น ค.ศ. 1990 นั้นเกิดแนวคิดสนับสบุนให้มีการ อนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรโดยการมีส่วนร่วมชองชุมซนขึ้นเพื่อบูรณาการการอนุรักษ์ การพัฒนา และการคงไว้ซึ่งวิถี ขีวิตชองกลุ่มชาติพันธ์ (Hitchcock 2001) และปัจจุบันก็มีการยอมรับแล้วว่าการอนุรักษ์จะสามารถบรรลุผลได้ก็ด้วยความ ร่วมมือกับกลุ่มชาติพันธุด้วยความเคารพในสิทธิชองกลุ่มคนเหล่านี้ (UNDESA 2009) โดยในประเทศแถบลาตินอเมริกามี การกำหนดพื้นที่อนุรักษ์ชองกลุ่มชาติพันธุขึ้นในประเทศเปรูและบราซิล รวมถึงอนุญาตให้กลุ่มชาติพันธ์มีส่วนร่วมในการ จัดการพื้นที่อนุรักษ์อื่นๆก็เพิ่มขึ้นด้วย (Valente 2007) ในประเทศออสเตรเลียเองก็มีการทำโครงการพื้นที่อนุรักษ์ชองกลุ่ม ชาติพันธุขึ้นมากว่า 20 ปีแล้ว โดยพื้นที่อนุรักษ์ดังกล่าวนั้นเป็นลัดส่วนกว่า 23% ชองพื้นที่อนุรักษ์ทั้งประเทศ (UNDESA 2009) อย่างไรก็ตามก็ยังปฏิเสธไม่ได้ว่าความตึงเครียดระหว่างกลุ่มชาติพันธ์กับเจ้าหน้าที่ที่ดูแลพื้นที่อนุรักษ์ก็ยังคงอยู่ใน พื้นที่ดังกล่าว โดยเฉพาะในรูปแบบชองการใช้ทรัพยากรในพื้นที่และการไม่ได้รับสิทธิเหนือผืนดินผืนนั้นอย่างเป็นทางการ (Working Group on Article 8J 2007)

 

    ในประเทศไทยเองก็มีช้อเสนอมาจากภาคประซาซนเซ่นกันให้มีการสำรวจพื้นที่ที่เหมาะสมกับการอนุรักษ์ให้ สอดคล้องกับความเป็นจริงและให้ประซาซนมีส่วนร่วมในการวางแผนและการจัดการที่ดินที่สอดคล้องกับพื้นที่ โดยมี เปัาหมายให้ประซาซนมีความนั่นคงในการการทำกินตามวัฒนธรรมชองแต่ละกลุ่มชาติพันธุและมีส่วนร่วมในการจัดการดูแล รักษาป่าและระบบนิเวศให้ยั่งยืน ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดที่มองประซาซนเป็นหนึ่งปัจจัยในการอนุรักษ์ทรัพยากร โดยรัฐบาล เองก็เคยมีนโยบายการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมชองประซาซนในเขตอุทยานแห่งชาติทั่วทุกภาค เซ่นใน “โครงการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม” ซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์พืช กับประซาซนในพื้นที่ และองค์กรพัฒนาเอกซน แต่ในการปฏิบัติก็ไม่ประสบความสำเร็จนักเพราะความชัดแย้งกับเจ้าหน้าที่ รัฐในพื้นที่ที่ยังคงดำเนินการตามกฎหมายซึ่งมุ่งคุ้มครองทรัพยากรจากการแทรกแซงโดยมนุษย์ทุกรูปแบบ (ศยามล ไกรยู รวงศ์ แลคณะ 2549) อนึ่ง นโยบายรัฐเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประซาซนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาตินี้เปลี่ยนแปลง ไปตามนโยบายส่วนกลางด้วยเซ่นกัน รวมถึงผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ด้วย ทำให้ในบางช่วงมีนโยบายที่ผ่อนปรน บาง'ช่วงก็มี นโยบายที่แข็งกร้าว นอกจากนี้การผลักดัน “กฎหมายป่าชุมซน ฉบับประซาซน” ที่รับรองสิทธิของชุมซนในการดูแลรักษา ป่าก็ยืดเยื้อมากว่า 25 ปีแล้ว โดยในร่างส่าสุดที่พิ่งมีการรับพิงความคิดเห็นประซาซนไปนั้นก็มีข้อท้วงติงว่าเป็นลิดรอนสิทธิ ของชุมซนที่อยู่อาศัยกับป่าและทำป่าชุมซนมาแต่ดั้งเดิม โดยการตัดสิทธิที่จะจัดดั้งป่าชุมซนในเขตป่าอนุรักษ์ออกไป และคำ นิยามของเขตอนุรักษ์ที่กำหนดไว้นี้มีความหมายกว้างขวางมาก ทำให้การจัด ดั้งป่าชุมซนนั้นเต็มไปด้วยข้อกำจัด (นักข่าว พลเมือง 2558)

 

    สุดท้ายนี้ ภายในปี พ.ศ. 2569 หรืออีก 9 ปีข้างหน้า กรมอุทยานแห่งซาติ สัตว์ป่า และพันธุพืช มีเป็าหมาย'ที่'จะ เพิ่มพื้นที่ป่าอนุรักษ์!ห้ได้ร้อยละ 25 ของพื้นที่ประเทศ จากปิจจุบันมีพื้นที่ป่าอนุรักษ์อยู่ร้อยละ 22 ของพื้นที่ประเทศหรือ 73.2 ล้านไร่ โดยเหลืออีกประมาณ 2 ล้านไร่เศษที่ภาครัฐต้องการจะกันไว้เป็นเขตป่าอนุรักษ์เพิ่ม ซึ่งทางกรมอุทยานฯเองก็ ยอมรับว่าจะต้องมีปิญหากับซาวบ้านหรือคนในพื้นที่ที่ส่วนใหญ่อยู่อาศัยและทำกินในพื้นที่นั้นกันมานานหลายซั่วอายุคน อย่างแน่นอน (ไทยรัฐ 2560) ดังนั้นนึ่อาจจะเป็นเวลาอันสมควรที่จะพิจารณาสร้างเขตอนุรักษ์ที่ให้ซาวบ้านและชุมซนมีส่วน ร่วมในการอนุรักษ์ขึ้นโดยไม่จำเป็นต้องแยกคนออกจากป่า หรือการประกาศพื้นที่อนุรักษ์โดยคำนึงถึงวัฒนธรรมของคนใน ท้องที่และการใข้ประโยซน้ในพื้นที่ที่สอดคล้องกับแนวนโยบายการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆกัน

 

   สรุป

การพิจารณากำหนดพื้นที่อนุรักษ์และสิทธิของชุมซนดั้งเดิมเพื่อวัตถุประสงศ์ในการดูแลทรัพยากรธรรมซาตินั้นควร พิจารณาลักษณะของอาซญากรรมสิ่งแวดล้อมตามความหมายอย่างกว้างและในมุมทางอาซญาวิทยาร่วมด้วยว่าการอยู่ อาศัยของกลุ่มชุมซนดั้งเดิมโดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มซาติพันธุนั้นเป็นการทำลายหรือทำให้ทรัพยากรร่อยหรออย่างที่เรามักจะ เข้าใจจนทำให้ต้องมีการบังคับโยกย้ายผู้คนออกมาจากป่า และทำลายวิถึซีวิตซึ่งส่งผลต่อความผูกพันทางด้านจิตวิญญาณ วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกิจของพวกเขา จนอาจนำไปส่ปีญหาสังคมอื่นๆและการประกอบอาชญากรรมโดยคนกลุ่มนี้ ตามทฤษฎีอาชญาวิทยาต่างๆหรือไม่ และควรให้ความสำคัญกับอาชญาวิทยาเซิงวัฒนธรรมซึ่งมองว่าการทำความเข้าใจ เกี่ยวกับกลุ่มซาติพันธุและอาชญากรรมสิ่งแวดล้อมนั้นจำต้องทำความเข้าใจถึงวัฒนธรรมของพวกเขาด้วย ทั้งนี้ มีงานวิจัย มากมายที่สนับสนุนว่ากลุ่มซาติพันธุนั้นไม่ได้เป็นสาเหตุของการตัดไม้ทำลายป่าหรือปิญหาทางสิ่งแวดล้อม แต่ในมุมตรงข้าม ยังได้รับการยอมรับในระดับสากลในฐานะต้นแบบผู้ดูแล (stewardship) ทรัพยากรธรรม'ซาติที่สมดุลและยั่งยืน โดยสิทธิ ของกลุ่มซาติพันธุนั้นสัมพันธ์และเกื้อหนุนกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมซาติและสิ่งแวดล้อม แต่การกำหนดกฎหมายและ นโยบายต่างๆกลับไม่ได้สะท้อนถึงข้อเท็จจริงดังกล่าว การประกาศพื้นที่อนุรักษ์ก็ไม่ได้พิจารณาลักษณะการไข้พื้นที่ของกลุ่ม ซาติพันธ์ว่าเป็นคุณหรือโทษต่อการอนุรักษ์พื้นที่ในการตัดสินใจ อีกทั้งคนในท้องที่ก็ไม่ได้มีส่วนร่วมในการกำหนดซะตา กรรมของตน นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างของการหาทางออกของความขัดแย้งระหว่างการป้องกันอาชญากรรมทางสิ่งแวดล้อม ผ่านการกำหนดพื้นที่อนุรักษ์กับสิทธิของกลุ่มชาติพันธุโดยการจัดตั้งพื้นที่อนุรักษ์ของกลุ่มชาติพันธุเพื่อให้กลุ่มชาติพันธุ สามารถมีส่วนร่วมในการจัดการดูแลรักษาป่าและระบบนิเวศให้ยั่งยืนได้เซ่นกัน

 

ข้อเสนอแนะ

 

  1. กำหนดนโยบายที่ขัดเจนเกี่ยวกับการกำหนดพื้นที่ป่าที่สอดคล้องกับการใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างเหมาะสมกับ ระบบนิเวศและให้ประซาซนและกลุ่มชาติพันธุมีส่วนร่วมกับการจัดการและพิจารณาถึงแนวทางเซิงวัฒนธรรมชอง พวกเขาด้วย โดยเป็นของภาระหน้าที่ร่วมกันของรัฐและกลุ่มชาติพันธุที่จะจัดการทรัพยากรอย่างสมดุล
  2. พิจารณาให้มีการจัดการที่ดินและทรัพยากรอย่างมีคุณค่าทางวัฒนธรรม เซ่น การประกาศเขตพื้นที่วัฒนธรรม พิเศษ
  3. เจ้าหน้าที่รัฐควรเรียนรู้ประเพณีกลุ่มชาติพันธุเพื่อให้เกิดความเช้าใจถ่องแท[นวิถีชีวิตและวัฒนธรรมประเพณี ไม่ว่า จะเป็นเรื่องการดำรงชีพ การทำไร่หมุนเรียน หรือในประเด็นอื่นๆ
  4. เปีดโอกาสให้กลุ่มชาติพันธุมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและการกำหนดนโยบายที่จะมีผลกระทบต่อชีวิตของพวกเขา

 

อ้างอิง

 

ภาษาอังกฤษ

Borgerhoff M. &Coppolillo, P. (2005). Conservation: Linking Ecology, Economics, and Culture. Princeton: Princeton University Press.

Broadhurst, R. 2002. Crime and Indigenous People, in Graycar, A. and p. Grabosky, [Eds.], Handbook of Australian Criminology, Cambridge University Press: Melbourne, pp 256-280.

Cooper, R. (1979). The Tribal Minorities of Northern Thailand: Problems and Prospects. Singapore: Heinemann.

Ferrell, J. 2015. Cultural Criminology. The Blackwell Encyclopedia of Sociology. 26 October 2015

Gottfredson, M., &Hirschi, T. (1990). A general theory of crime. Stanford, CA: Stanford University Press.

Hitchcock, R.K., (2 0 0 1 ). Decentralization, Natural Resource Management, and Community-Based Conservation Institutions in Southern Africa. Indigenous Affairs, Sustainable Development, 4/2001: 38-49. Copenhagen: IWGIA.

Mckinnon, J. (1987). Resettlement and the Three-Ugly step Sisters, Security, Opium and Land Degradation: A Question of Survival for the Highlanders of Thailand. Paper Presented at the 3rd International Conference of Thai Studies. July 3-6, 1987, Australian National University, Canberra.

Nellemann c. (2016). The rise of environmental crime - A growing threat to natural resources, peace, development and security. UNEP Nairobi, Kenya 2016

OHCHR. (2008). Leaflet No. 10: Indigenous Peoples and the Environment.http://www.ohchr.org/Documents/Publications/Guidel Pleafletl0en.pdf

Open Society Foundations. (2017). strategic Litigation Impacts: Indigenous Peoples’ Land Rights.https://www.

opensocietvfoundations.org/sites/default/fRes/slip-land-rights-20170620.pdf Renteln, A. (2004). Environmental Rights vs. Cultural Rights. Human Rights Dialogue: "Environmental Rights". 23 April 2004. Carnegie Councilhttps://vwvw.carnegiecouncil.org/puhlications/archive/dialogue/2_11/ section_2/4453 Sellin, T. (1938). Culture Conflict and Crime. American Journal of Sociology. Vol. 44. No. 1 (Jul, 1938)

Siegel, R. (2016).Criminology: The Core. 5th ed. Cengage Learning

University of Minnesota Human Rights Center. (2003). STUDY GUIDE: The Rights of Indigenous Peoples.

http://hrlihrary.umn.edu/edumat/studyguides/indigenous.html. (Accessed on 3 December 2017)

Valente, M. ( 20 0 7 ). Environment: Conservation expands in Latin America. Inter Press Service (IPS) online at http://ipsnews.net/news.asp?idnews=3949

World Bank. (2017). INDIGENOUS PEOPLES,http://www.worldbank.org/en/topic/indigenouspeoples.Accessed on 3 December 2017

Working Group on Article 8J. (2007). Composite Report on the Status and Trends Regarding the Knowledge, Innovations and Practices of Indigenous and Local Communities: Regional Report: Latin America, Central and the Caribbean. UN Doc. UNEP/CBD/WG8J/AG/2/2/Add.4 April 2007.

Young, Elspeth. (2000). Harvesting from ‘country’: contemporary indigenous subsistence in Australia’s native title era. Indigenous Affairs, Hunters and Gatherers, 2/2000: 56-63. Copenhagen: IWGIA. Available online at http://vvww.iwgia.org

 

ภาษาไทย

ข่าวสด. (2559). ศาลปกครองชี้จนห.เผาบ้านกะเหรี่ยงแก่งกระจานถูกต้องแล้ว - ปูคออี้สุดเศร้า. 7 กันยายน 2559. https://www. khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=1473234509

คณะกรรมการสิทธิมนุษยซนแห่งซาติ. (2557). รายงานผลการตรวจสอบที่317/2557เรื่อง สิหริชุมชน และสิหริในการจัดการที่ดิน กรณี เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานผลักดันชาวกะเหรี่ยงดั้งเดิมออกจากบริเวณอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ดรุณี ไพศาลพาณิซย์กุล.(2554).มอง 100 ปีกฎหมายสัญชาติไทยผ่าน100 ปีของ ‘ปีกาเกอะญอเฒ่าโคร’แห่งผืนปีาแก่งกระจาน.ปีระขา ไท.20 ตุลาคม 2554. https://prachatai.com/journal/2011/10/3751416ไทย,พีปีเอส. (2559). "ปูคออี้" กับนํ้านมหยดแรกที่แก่งกระจาน. 8 กันยายน 2559. http://news.thaipbs.or.th/quote/40ไทยรัฐ. 2560. เพิ่มพื้นที่ปีา 25% ภารกิจที่ท้าทาย. 12 ก.ย. 2560. https://vvvvw.thairath.co.th/content/1066212นักข่าวพลเมือง. (2558). ‘พ.ร.บ.ปีาชุมชน’ ยุคปฏิรูป อีกครั้งกับดำถาม ‘สิหริชุมชน VS พื้นที่อนุรักษ์’. สถานีโทรทัศน์ Thai PBS.

https://vvww.citizenthaipbs.net/node/12402นักข่าวพลเมือง. (2558). ขนข้าวอีกครั้งช่วยกะเหรี่ยงบางกลอย.31 มกราคม 2558

ประซาไท. (2555). สรุปดำพิพากษาศาลปกครองบ้ายหมู่บ้านม้งแม่ฅะละไม่ชอบ.23 สิงหาคม 2555. https://prachatai.com/iournal/2012/08/42234

ประซาไท. (2559). คำพิพากษา 'ปูคออี้'สะท้อนอำนาจราชการผูกขาดทรัพยากรหวีความรุนแรง. 8 กันยายน 2559. https:// prachatai.com/iournal/2016/09/67829

ประยงค์ ดอกลำใย และคณะ. (2543). ปาไม้-ที่ดิน การจัดการทรัพยากรในลุ่มนํ้าโดยการิส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพ ๆ: โครงการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมซาติในพื้นที่ลุ่มนํ้าโดยการมีส่วนร่วมของประซาซน

ยศ สันตสมบัติ. (2543). รัฐ ชุมชน และนโยบายการจัดการทรัพยากร: บทสำรวจองค์ความรู. พลวัตของชุมซนในการจัดการทรัพยากร: กระบวนทัศน์และนโยบาย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

วลัยลักษณ์ ทรงศิริ 2559. “ปาคือบ้านและชีวิต’’ ปกาเกอะญอ ห้วยหินลาดใน. วิทยาลัยการ'จัดการทางสังคมบ้าน,ห้วยหินลาด,ใน. http://lpk-prapai.org/homp/vipw.php?id=218

สุทัศน์ ใจฉํ่า. (2008). การละเมิดสิทริมนุษยชนกลุ่มชาติพันธ์และชนเผ่าในประเทศไทย.Gotoknow. https://www.gotoknow .org/posts/204020

สุรพงษ์ จันกองทึก.(2559). เป็ดรัฐ'รรรมนูญฉบับลงประ'ชามติ ‘คืนสิทริชุมชน-อีไอเอ’ แต่ใช้ไม่ได้จริง!?. สำนักข่าวสิ่งแวดล้อม Greennews. 29 มี.ค. 20

องอาจ เดซา. (2555). เรียนรู้วิถีชุมชนปาตึงงาม ฝานมติ ดรม.การห้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง. 10 กันยายน 2555. ฐานข้อมูลงานวิจัยทางซาติ พันธุในประเทศไทย.http://www.sac.or.th/databasps/pthnicrpdb/npws_dptaiLphp7ickl346

อานันทึ กาญจนพันธุ. (2543). สิทริในการเช้าถึงทรัพยากร: สถานภาพการศึกษาเกี่ยวกับวิรีคืด. พลวัตชองชุมชนในการจัดการทรัพยากร: กระบวนทัศน์และนโยบาย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

H O M E

A B O U T

O U R T E A M

Nathee Chitsawang

Copyright 2016 | All Rights Reserved.